วันพฤหัสบดีที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

บทที่ 9

1. ข้อใดเกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ
ตอบ ง ถูกทุกข้อ
2. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของระบบสารสนเทศ
ตอบ ค ตัดสินใจแทนมนุษย์ได้
3. ข้อใดเป็นระบบสารสนเทศที่เกิดจากการประมวลผลข้อมูลในงานประจำ
ตอบ ข ระบบสำนักงานอัตโนมัติ
4. ข้อใดไม่ใช่โปรแกรมสำหรับสำนักงานอัตโนมัติ
ตอบ ค โปรแกรมผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
5. ระบบที่เกิดจากการนำสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในระบบการประมวลผลรายการเปลี่ยนแปลงมาประมวลผล คือ
ตอบ ง ถูกทั้ง ข และ ค
6. ระบบสารสนเทศแบบใดที่อาจมีการสร้างแบบจำลองแบบต่าง ๆ แล้วเลือกแบบที่ดีที่สุด
ตอบ ง ระบบผู้เชี่ยวชาญ
7. ระบบใดที่มีการสร้างซอฟต์แวร์ให้คอมพิวเตอร์ทำงานคล้ายกับเป็นผู้เชี่ยวชาญ
ตอบ ข ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

8. ระบบสารสนเทศแบบใดที่มีการสร้างฐานความรู้ขึ้น เพื่อใช้งานในระบบ
ตอบ ก ระบบการประมวลผลรายการเปลี่ยนแปลง
9. การวินิจฉัยโรคบางโรคหากขาดแคลนแพทย์เชี่ยวชาญ จะสามารถสร้างระบบใดมาช่วยงานได้
ตอบ ค ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
10. ระบบสารสนเทศแบบใดที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยในการวางแผนและการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงในองค์กร
ตอบง. ระบบสนับสนุนผู้บริหาร

บทที่ 8

1. ขั้นตอนการเตรียมการในการพัฒนาโปรแกรม ด้วยการลำดับความคิดในการเขียนโปรแกรมเพื่อใช้กับานใดงานหนึ่ง เรียกว่า
ตอบ ก การวิเคราะห์งาน
2. ขั้นตอนการตีความกับโจทย์ปัญหา เรียกขั้นตอนนี้ว่าอะไร
ตอบ ก การวิเคราะห์งาน
3. ข้อใดไม่ใช่งานที่ต้องทำในการวิเคราะห์งาน
ตอบ ง การเขียนโปรแกรม
4. สิ่งที่โจทย์ต้องการคือ
ตอบ ค ถูกทั้ง ก และ ข
5. ข้อมูลนำเข้า คือ
ตอบ ค ถูกทั้ง ก และ ข
6. จากโจทย์ข้างต้น จำเป็นต้องตั้งตัวแปรแทนค่าใด
ตอบ ง ถูกทุกข้อ
7. การกำหนดตัวแปรในการวิเคราะห์งาน ควรกำหนดให้แทนค่าใด
ตอบ ง ถูกทุกข้อ
8. ขั้นตอนใดในการวิเคราะห์งานเป็นการเขียนแสดงลำดับขั้นตอนการประมวลผล
ตอบ ข การกำหนดตัวแปร
9. ขั้นตอนใดในการวิเคราะห์งาน เป็นขั้นตอนเพื่อกำหนดตัวแปรต่าง ๆ
ตอบ ง ถูกทุกข้อ
10. ในการวิเคราะห์งาน หากโจทย์ไม่ได้กำหนดรูปแบบผลลัพธ์มาให้ ควรทำอย่างไรในขั้นตอนการกำหนดรูปแบบผลลัพธ์
ตอบ ง ถูกทั้ง ข และ ค
11. การเขียนสัญลักษณ์รูปภาพแสดงขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คือ
ตอบ การเขียนผังงาน
12. สัญลักษณ์ใด หมายถึง การประมวลผล
ตอบ ค

13. สัญลักษณ์ใด หมายถึง การตัดสินใจ
ตอบ ก.

14. สัญลักษณ์ใด หมายถึง กระดาษพิมพ์
ตอบ ข.

15. สัญลักษณ์ใด หมายถึง จุดเชื่อมต่อการทำงาน
ตอบ ก

16. จากผังงานข้างต้น ค่า x สุดท้าย มีค่าเท่าใด
ตอบ ง 6
17. จากผังงานข้างต้น ค่า RESULT แสดงมีค่าเป็นเท่าใด
ตอบ ง 1
18. วงจรการทำงานในผังงานข้างต้น มีการทำงานทั้งหมดกี่รอบ
ตอบ ง 6
19. จากผังงานข้างต้นการแสดงว่า x และ RESULT เป็นการแสดงผลทางใด
ตอบ ก จอภาพ
20. จากผังงานข้างต้น RESULT ที่แสดงผล เกิดจากการทำงานในข้อใด
ตอบ ก 1+2+3+4+5
21. วิธีการทางคอมพิวเตอร์ ข้อใดเป็นขั้นตอนต่อจากการเขียนผังงาน
ตอบ ก การวิเคราะห์งาน
22. ภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมบนไมโครคอมพิวเตอร์ภาษาใด เหมาะกับงานทางด้านธุรกิจและวิทยาศาสตร์
ตอบ ง C
23. การเลือกใช้ภาษาในการเขียนโปรแกรมควรพิจารณาจาก
ตอบ ง ถูกทุกข้อ
24. เพื่อลดความผิดพลาดในการเขียนโปรแกรม จึงควรเขียนโปรแกรมโดย
ตอบ ง ใช้วิธีใดก็ได้ทั้ง ก และ ข และ ค
25. การตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรมที่ทำขึ้น อยู่ในขั้นตอนใด
ตอบ ง ถูกทั้ง ข และค

26. การตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรม อาจพบความผิดพลาดในลักษณะใด
ตอบ ง ถูกทั้ง ก และข
27. ความผิดพลาดในการเขียนรูปแบบคำสั่งเรียกว่า
ตอบ ง ถูกทั้ง ก และข
28. ความผิดพลาดในการทำงานของโปรแกรม เรียกว่า
ตอบ ค ความผิดพลาดทางผังงาน
29. ข้อใดเป็นเอกสารประกอบการใช้งานโปรแกรม
ตอบ ตอบ ก เอกสารคู่มือระบบ

30. เอกสารใดที่อธิบายรายละเอียดของโปรแกรม
ตอบ ค เอกสารคู่มือวิเคราะห์งาน
น.ส.กัญญรัตน์ ยิ้มแย้ม

บทที่ 6

แบบประเมินผลการเรียนรู้ บทที่6
ส่วนที่ 1 จงเสือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว

1.ที่เก็บรวบรวมข้อมูลหลายๆ ระเบียน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เรียกว่า
ตอบ ข.แฟ้มข้อมูล

2. ข้อใดไม่ใช่ชนิดของแฟ้มข้อมูลที่แบ่งตามลักษณะของข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในแฟ้ม
ตอบ ค.แฟ้มแสดงผล

3.แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลไว้อย่างค่อนข้างถาวร เพื่อนำไปปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลักต่อไป
ตอบ ง.แฟ้มหลัก

4. แฟ้มข้อมูลใดที่เก็บรายการเปลี่ยนแปลง เพื่อนำไปปรับปรุงแฟ้มข้อมูลต่อไป
ตอบ ข.แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง

5.แฟ้มชนิดใดใช้เก็บผลที่เกิดขึ้นจากการจัดการของแฟ้มอื่นๆ
ตอบ ก.แฟ้มควบคุม

6.ข้อใดเป็นชนิดของแฟ้มข้อมูลที่แบ่งตามลักษณะการใช้งาน
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ

7.แฟ้มหลักสามารถจัดเป็นแฟ้มชนิดใดได้
ตอบ ง.แฟ้มข้อมูลอดีต

8. การจัดระเบียบแฟ้มข้อมูลในระดับเบื้องต้นสามารถแบ่งได้เป็น
ตอบ ก. แฟ้มข้อมูลแบบลำดับและแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม

9.แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่จัดเก็บระเบียนต่างๆ เรียงต่อกันอย่างต่อเนื่องตามลำดับ
ตอบ ก.แฟ้มข้อมูลแบบลำดับ

10.การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ สามารถจัดเก็บในสื่อบันทึกแบบใด
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ

11.การจัดเก็บระเบียนข้อมูลเรียงตามลำดับคีย์หลักในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ เป็นการจัดเก็บในลักษณะใด
ตอบ ค.Order File

12.การจัดเก็บระเบียนข้อมูลไม่เรียงตามลำดับคีย์หลักในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ เป็นการจัดเก็บในลักษณะใด
ตอบ ก.Pile

13. ข้อใดเป็นข้อจำกัดของแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ
ตอบ ข.ไม่สามารถเข้าถึงระเบียนที่ต้องการได้โดยตรง

14.แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่มีการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งที่เก็บข้อมูลกับเขตข้อมูลที่เป็นเขตหลัก
ตอบ ค.แฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม

15. แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่สามารถเข้าถึงระเบียนที่ต้องการได้โดยตรง
ตอบ ค.แฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม

16.แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่ทุกระเบียนมีขนาดเท่ากัน
ตอบ ก. แฟ้มข้อมูลแบบลำดับ

17. ข้อใดเป็นข้อจำกัดของแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
ตอบ ง.เปลืองเนื้อที่เก็บข้อมูลในสื่อบันทึก

18. แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่สามารถเข้าถึงระเบียนที่ต้องการได้ทั้งแบบลำดับและแบบสุ่ม
ตอบ ค. แฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนี

19. การสร้างแฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนีวิธีใด ที่มีการแบบเนื้อที่เป็นส่วนที่ใช้เก็บดรรชนี และส่วนที่ใช้เก็บข้อมูล
ตอบ ค. แฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนี


20. ส่วนเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนี สร้างด้วยวิธี Prime and Overflow Data Areaมีการแบ่งเนื้อที่เป็นส่วนใดบ้าง
ตอบ ง.ถูกทั้งข้อกและข

21. ส่วนเก็บดรรชนีในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนีที่สร้างด้วยวิธี Prime and Overflow Data Area ข้อใดไม่ใช่การแบ่งลำดับดรรชนี
ตอบข. Sector Index

22. ส่วนเก็บดรรชนีในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนี ที่สร้างด้วยวิธี Index and Data Blocks มีโครงการเป็นแบบใด
ตอบ ค. แบบต้นไม้

23. แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่สามารถมีคีย์หลักได้หลายตัว
ตอบ ง. แฟ้ทข้อมูลแบบหลายคีย์

24. ในแฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์ การจัดระเบียบแฟ้มใดที่ใช้วิธีผกผันระหว่างความสัมพันธ์ของระเบียนกับค่าของคีย์หลัก
ตอบ ก. การจัดระเบียบแฟ้มแบบ Inverted

25. ในแฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์ การจัดระเบียบแฟ้มใดที่ใช้วิธีผกผันระหว่างคีย์หลัก
ตอบ ง. ถูกทั้งข้อก.และข.

26. ในแฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์ การจัดระเบียบแฟ้มใดที่มีการใช้ Linked list ช่วยในการค้นหาข้อมูล
ตอบ ก. การจัดระเบียบแฟ้มแบบ Inverted

27. ในแฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์ การจัดระเบียบแฟ้มแบบใดที่ใช้การเชื่อมโยงค่าของคีย์รองเข้าด้วยกัน
ตอบ ข. การจัดระเบียบแฟ้มแบบ Multi-List

28. ข้อใดเป็นวิธีการประมวลผลแฟ้มข้อมูล
ตอบ ค. การประมวลผลแบบต่อเนื่อง

29. On – Line Processing เป็นการประมวลผลแบบใด
ตอบ ค. แบบต่อเนื่อง

30. การประมวลผลแบบใดที่มีการปรับปรุงข้อมูลทันทีที่เกิดรายการ
ตอบ ข. การประมวลผลแบบ On-Line

บทที่ 5

แบบประเมินผลการเรียนรู้ บทที่ 5
ส่วนที่ 1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว
1. คอมพิวเตอร์ทำงานกับข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบของเลขฐานใด
ตอบ ก เลขฐานสอง

2. ตัวเลขในระบบเลขฐานสอง ประกอบด้วย
ตอบ ง. 0 ถึง 1

3. ตัวเลขในระบบเลขฐานสองแปด ประกอบด้วย
ตอบ ค. 0 ถึง 7

4. ตัวเลขในระบบเลขฐานสิบ ประกอบด้วย
ตอบ ข. 0 ถึง 9

5. ตัวเลขในระบบเลขฐานสิบหก ประกอบด้วย
ตอบ ก. 0 ถึง F

6. (111)2 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบ
ตอบ ค.7

7. 12 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสอง
ตอบ ง. (1100)2

8. ตัวเลขในข้อใดไม่ถูกต้อง
ตอบ ง. ค (4FB5)16

9. ค่า (132)8 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบ
ตอบ ก. 90

10. 797 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานแปด
ตอบ ค. (1435)8

11. (13A)16 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบ
ตอบ ง. 314
12. 331 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบหก
ตอบ ข. (14B)16

13. รหัสแทนข้อมูลชนิดแรกที่เกิดขึ้น คือรหัสใด
ตอบ ข. BCD

14. รหัสมาตรฐานที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ คือ รหัสใด
ตอบ ก. ASCII

15. รหัสแทนข้อมูลที่ใช้กับเครื่อง IBM ระดับมินิคอมพิวเตอร์ขึ้นไป คือรหัสใด
ตอบ ค. EBCDIC
น.ส.กัญญรัตน์ ยิ้มแย้ม

วันอังคารที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2552

แบบประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 2

แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ 2

ส่วนที่ 1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว

1. การสื่อสารข้อมูลในงานคอมพิวเตอร์ หมายถึง
ตอบ ค. การถ่ายทอดข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับ
2.ทางเดินข้อมูลที่ถูกต้อง คือข้อใด
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

3.ทางเดินสำหรับรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยประมวลผลกับหน่วยความจำ คือข้อใด
ตอบ ข.บัสข้อมูล

4.ทางเดินสำหรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยความจำกับอุปกรณ์รับข้อมูล/แสดงผลข้อมูล คือข้อใด
ตอบ ข. บัสข้อมูล

5.ทางเดินสำหรับถ่ายโอนตำแหน่งของหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูล คือข้อใด
ตอบ ค. แอดเดรสบัส

6.ทางเดินสำหรับรับส่งสัญญาณควบคุมที่จะควบคุมการทำงานของส่วนต่างๆ คือข้อใด
ตอบ ก. บัสควบคุม

7.ข้อใดคือส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิเตอร์หลายเครื่อง
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ


8.ในการสื่อสารข้อมูล ข้อมูลที่ส่งไปอาจอยู่ในรูปใด
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ

9.ข้อใดคือชนิดของสัญญาณข้อมูล
ตอบ ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.

10. สัญญาณชนิดใดที่มีลักษณะต่อเนื่องอยู่ในรูปแบบของคลื่น
ตอบ ก. สัญญาณแอนะล็อก

11. สัญญาณชนิดใดที่มีลักษณะไม่ต่อเนื่อง โดยการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณจะเกิดขึ้นอย่างทันทีทันใดเวลาหนึ่ง
ตอบ ข. สัญญาณดิจิตอล

12. อุปกรณ์ที่ใช้แปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ คือ
ตอบ ค. โมเด็ม

13. ในการสื่อสารข้อมูล ข้อใดเป็นลักษณะของการรับ-ส่งข้อมูล
ตอบ ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.

14. การส่งข้อมูลทีละ 1 ตัวอักขระ จัดเป็นการส่งข้อมูลแบบใด
ตอบ ก. แบบ Asynchronous

15. การส่งข้อมูลเป็นกลุ่มๆ หรือ Packet จัดเป็นการส่งข้อมูลแบบใด
ตอบ ข. แบบ Synchronous

16. ข้อใดเป็นการสื่อสารข้อมูลในลักษณะที่ผู้ส่งข้อมูลจะส่งแต่เพียงฝ่ายเดียว ผู้รับข้อมูลก็จะรับได้เพียงอย่างเดียว ไม่สามารถโต้ตอบกันได้ในเวลาเดียวกัน
ตอบ ก. การสื่อสารแบบ Simple Duplex

17. ข้อใดเป็นการสื่อสารข้อมูลในลักษณะที่ผู้ส่งข้อมูลและผู้รับข้อมูลจะสามารถโต้ตอบกันได้ในเวลาที่ต่างกัน
ตอบ ข. การสื่อสารแบบ Half Duplex

18. ข้อใดเป็นการสื่อสารข้อมูลในลักษณะที่ผู้ส่งข้อมูลและผู้รับข้อมูลสามารถทำหน้าที่เป็นได้ทั้งผู้ส่งและผู้รับได้ในเวลาเดียวกัน
ตอบ ค. การสื่อสารแบบ Full Duplex

19. สื่อที่ใช้เป็นช่องทางการสื่อสารข้อมูลที่มีลักษณะเป็นสายทองแดงหุ้มฉนวนบิดไขว้กัน คือ
ตอบ ก. สายเกลียวคู่


20. สื่อที่ใช้เป็นช่องทางการสื่อสารข้อมูลที่มีลักษณะเป็นสายที่มีแกนกลางทำด้วยทองแดง 1 เส้น
หุ้มด้วยฉนวน คือ
ตอบ ข. สายเคเบิลแบบมีแกนกลาง

21. สื่อที่ใช้เป็นช่องทางการสื่อสารข้อมูลที่มีลักษณะเป็นสายที่ประกอบจากใยแก้วจำนวนมากรวมกัน มีขนาดหนาเท่ากับเส้นผมประกอบอยู่ในสาย คือ
ตอบ ค. เส้นใยนำแสง

22. ช่องทางการสื่อสารข้อมูลที่มีลักษณะเป็นการสื่อสารแบบไร้สาย
ตอบ ง. สัญญาณไมโครเวฟ


23. การเชื่อมต่อสัญญาณจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เป็นการเชื่อมต่อแบบใด
ตอบ ข. แบบ Point – to - Point

24. การเชื่อมต่อสัญญาณจากจุดหนึ่งไปยังจุดรับสัญญาณอีกหลายๆจุด เป็นการเชื่อมต่อแบบใด
ตอบ ก. แบบ Broadcast

25. ข้อใดเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ทำหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเทอร์มินัสที่ต่อเชื่อมอยู่กับ
Host และรับผลจากการประมวลผลที่ Host ส่งกลับไปยังเทอร์มินัสที่ติดต่ออยู่
ตอบ ข. Front – End - Processor

26. ข้อใดเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่ควบคุมการสื่อสารข้อมูลระหว่างหน่วยประมวลผลกลางกับอุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออยู่กับระบบ
ตอบ ง. Controller

27. ข้อใดเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการหาเส้นทางการับ – ส่งข้อมูลระหว่างเครื่องแม่ข่ายกับเครื่องอื่นๆในระบบเครือข่าย
ตอบ ก. Router

28. ข้อใดเป็นอุปกรณ์เชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์หนึ่งกับระบบเครือข่ายอื่นที่มีความแตกต่างกัน
ตอบ ข. Gateway

29. ข้อใดเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อระบบ LAN เข้าด้วยกัน
ตอบ ค. HUB

30. ข้อใดเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ขยายสัญญาณและทำการทวนซ้ำ
ตอบ ค. Repeater

31. ข้อใดเป็นอุปกรณ์รับ – ส่งข้อมูลระหว่างระบบเครือข่ายท้องถิ่น 2 วง
ตอบ ง. Bridge

32. ข้อใดไม่ใช่การเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเป็นระบบเครือข่าย
ตอบ ง. เครือข่ายรูปแบบโทเค็น

33. ข้อใดเป็นการเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องเข้าด้วยกัน
ตอบ ก. เครือข่ายรูปแบบดาว

34.ข้อใดเป็นการนำคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกันเป็นรูปวงแหวน
ตอบ ค. เครือข่ายรูปวงแหวน

35. ในระบบ Internet จะมีการใช้โปรโตคอลใด
ตอบ ค. TCP/IP

วันจันทร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

ส่งงาน

บทที่ 1
แบบประเมินผลการเรียนรู้ บทที่ 1
1.ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
ตอบ ค. ทำงานแทนมนุษย์ได้ทุกอย่าง
2. คอมพิวเตอร์ชนิดใดที่สามารถประมวลผลข้อมูลที่มีลักษณะเป็นสัญญาณต่อเนื่อง
ตอบ ก. แอนนะล็อกคอมพิวเตอร์
3.ข้อใดเป็นการแบ่งประเภทคอมพิวเตอร์ตามลักษณะข้อมูลที่นำมาประมวลผล
ตอบ ก.ดิจิตอลคอมพิวเตอร์
4.คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สุด คือ
ตอบ ข.ซูปเปอร์คอมพิวเตอร์
5. ข้อใดเป็นลักษณะคอมพิวเตอร์ใช้งานเฉพาะกิจ
ตอบ ค.ใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมการเดินเรือ
6.หน่วยประมวลผลกลางของไมโครคอมพิวเตอร์ ทำจากแผงวงจรรวมที่เรียกว่า
ตอบ ง.IC
7. คอมพิวเตอร์ชนิดใด ไม่จัดเป็นไมโครคอมพิวเตอร์
ตอบ ข.Minicomputer
8.ลักษณะงานที่เหมาะจะนำคอมพิวเตอร์ไปใช้คือ
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
9.งานใดที่ไม่จำเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์
ตอบ ค.การปรุงอาหาร
10.งานใดที่มีการใช้คอมพิวเตอร์แบบไฮบริดคอมพิวเตอร์
ตอบ ข.การพยากรณ์อากาศ
11.อุปกรณ์ใดจัดเป็นหน่วยรับข้อมูลเท่านั้น
ตอบ ข.แป้นพิมพ์
12.อุปกรณ์ใดจัดเป็นหน่วยแสดงผลเท่านั้น
ตอบ ก.เครื่องพิมพ์
13.อุปกรณ์ใดที่เป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผล
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
14.หน่วยใดที่ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลตอบ
ค.หน่วยประมวลผลกลาง
15.ขณะที่เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ หน่วยใดที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลชั่วคราว
ตอบ ข.หน่วยความจำสำรอง
16.หน่วยใดที่ทำหน้าที่คำนวณและเปรียบเทียบทางตรรกะ
ตอบ ข.หน่วยคำนวณและเปรียบเทียบ
17.หน่วยใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ
ตอบ หน่วยควบคุม
18.หน่วยใดที่ทำหน้าที่เก็บรักษาสำรองโปรแกรมหรือข้อมูลไว้ใช้งานต่อไป
ตอบ ข.หน่วยความจำหลัก
19.ข้อใดไม่ใช้หน่วยความจำสำรอง
ตอบ ค.เครื่องพิมพ์
20. โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน คือ
ตอบ ข.ซอฟต์แวร์ประยุกต์
21. ประเภทของซอฟต์แวร์ คือ
ตอบ ง.ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
22.ข้อใดเป็นซอฟต์แวร์ระบบ
ตอบ ก.โปรแกรมระบบปฏิบัติการ
23.ข้อใดเป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์
ตอบ ค.โปรแกรมสำเร็จรูปใช้งานด้านต่างๆ
24.บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ คือข้อใด
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
25. ใครที่ไม่ใช่บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
ตอบ ง.ไม่มีข้อใดถูกต้อง

ส่วนที่2 จงตอบคำถาม
1. คอมพิวเตอร์ คืออะไร
ตอบ คอมพิวเตอร์คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถรับ และจดจำคำสั่งข้อมูลทั้งที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร หรืออักขระพิเศษ เพื่อนำไปประมวลผลแล้วได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการอย่างถูกต้อง รวดเร็ว
2.แบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ตามลักษณะของข้อมูลที่จะนำมาประมวลผลได้เป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง
ตอบ แบ่งได้ 3 ประเภท คือ
1. แอนะล็อกคอมพิวเตอร์ (Analog Computer)
2. ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ (Digital Computer)
3. ไฮบริดคอมพิวเตอร์ (Hybird Computer)
3.แบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ตามลักษณะการใช้งานได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ตอบ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
1.คอมพิวเตอร์แบบใช้งานทั่วไป (General Purpose Computer)
2.คอมพิวเตอร์แบบใช้งานเฉพาะกิจ (Spicial Purpose Computer)
4.แบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ตามขนาดของเครื่องได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ตอบ แบ่งได้ 4 ประเภท คือ
1.ซูปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer)
2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
3.มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)
4.ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
5. ลักษณะงานที่เหมาะจะนำคอมพิวเตอร์ไปใช้ ควรมีลักษณะอย่างไร
ตอบ 1. งานที่มีประมาณข้อมูลจำนวนมาก
2. งานที่ต้องมีการคำนวณซบซ้อน
3. งานที่ต้องทำซ้ำซาก หรือต้องทำงานในลักษณะเดิมซ้ำๆ
4. งานที่ต้องการความถูกต้อง แม่นยำ
5. งานที่ต้องการผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว
6. ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยอะไรบ้าง
ตอบ1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
2.ซอฟต์แวร์ (Software)
3.บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (Peopleware)
4.ข้อมูล (Data)
7. ฮาร์ดแวร์มีส่วนประกอบหลักอะไรบ้าง
ตอบ1.หน่วยรับข้อมูล (lnput Unit)
2.หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit หรือ CPU)
3.หน่วยความจำหลัก (Main Memory Unit)
4.หน่วยแสดงผล (Output Unit)
5.หน่วยความจำสำรอง (Secondary Storage Unit)
8.หน่วยรับข้อมูล มีหน้าที่อะไรบ้าง และอุปกรณ์ที่จัดเป็นหน่วยรับข้อมูลมีอะไรบ้าง
ตอบ รับข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์1.แป้นพิมพ์ (Keyboard)
2.เมาส์ (Mouse)
3.เครื่องกราดตรวจ (Scanner)
4.จอยสติกค์ (Joy Stack)
5.แทร็กบอลล์ (Trackball)
6.ปากกาแสง (Light Pen)
9.หน่วยประมวลกลาง มีหน้าที่อะไร
ตอบ มีหน้าที่ประมวลผลข้อมูลตามโปรแกรมหรือคำสั่งที่ได้รับ และ ยังมีหน้าที่ในการควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ที่ต่ออยู่กับคอมพิวเตอร์
10.อธิบายส่วนประกอบของหน่วยประมวลผลกลาง
ตอบ1.หน่วยคำนวณและเปรียบเทียบ (Arithmetic and Logical Unit หรือ ALU)มีหน้าที่ในการคำนวณและเปรียบเทียบ2.หน่วยควบคุม (Control Unit)มีหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างต่างที่ติดอยู่กับคอมพิวเตอร์
11.จงบอกหน้าที่ของหน่วยความจำหลัก
ตอบ มีหน้าที่เก็บข้อมูลชั่วคราวขณะเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ ข้อมูลที่รับเข้ามาจาก หน่วยรับข้อมูลจะถูกนำมาเก็บที่หน่วยความจำหลัก เพื่อรอส่งไปทำการประมวลผลต่อไป
12.จงบอกหน้าที่ของหน่วยแสดงผล
ตอบ มีหน้าที่ในการแสดงข้อมูลหรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล
13.จงบอกหน้าที่ของหน่วยความจำสำรอง
ตอบ มีหน้าที่เก็บสำรองข้อมูลหรือโปรแกรมไว้ใช้งานในเวลาต่อไป
14.ซอฟต์แวร์ คืออะไร
ตอบ คือ โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน
15. ซอฟต์แวร์แบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้างตอบ แบ่งเป็น 2 ประเภท
1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
นส.กัญญรัตน์ ยิ้มแย้ม